การจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยที่มีผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย
ปริญญานิพนธ
ของ
ศิรลักษณ
วุฒิสรรพ
สรุปผลอภิปรายผลและขอเสนอแนะ
การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยที่มีผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยมีจุดมุงหมายในการวิจัยคือเพื่อศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมและรายดานของเด็กปฐมวัยกอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยขอบเขตการวิจัยครั้งนี้
กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนชาย – หญิงอายุ5 –
6 ปกําลังศึกษาอยูชั้นอนุบาลป ที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551
โรงเรียนบานสามแยกสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากําแพงเพชรเขต
2
จํานวน 15 คนไดมาดวยการคัดเลือกแบบเจาะจงจากหองที่ผู้วิจัยเปนครูประจําชั้นตัวแปรที่ใชในการวิจัยประกอบดวย
ตัวแปรจัดกระทําไดแกการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยตัวแปรตามไดแกทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยจําแนกรายดาน
4
ดานคือทักษะการจําแนกประเภททักษะการเปรียบเทียบทักษะการรูคาจํานวน
1 – 10 ทักษะการเพิ่ม – ลดภายในจํานวน 1 – 10การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง
(Qusai Experimental Design) ซึ่งทําการศึกษากับกลุตัวอยางเปนนักเรียนระดับปฐมวัยโดยสรางความคุนเคยกับเด็กเปนระยะเวลา
1
สัปดาหดําเนินการทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยกับกลุมตัวอยางกอนการทดลองโดยใชแบบประเมินเชิงปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยมาทดสอบกอนการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยเมื่อสิ้นสุดการทดลองผูิวจัยไดนําแบบประเมินเชิงปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยมาทดสอบหลังการทดลองและนําขอมูลที่ไดจากการทดสอบมาวิเคราะหดวยวิธีการทางสถิติ
สรุปการศึกษาคนควา
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อศึกษาการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยที่มีผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและรายดานผลการวิจัยพบวา
1. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมกอนการทดลองมีคาเฉลี่ยเทากับ 17.400 และหลังการทดลองมีคาเฉลี่ยเทากับ
31.533 กอนและหลังการทดลองมีคาเฉลี่ยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
P<.05 (F=198.116)
แสดงวาคาเฉลี่ยทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรกอนและหลังการทดลองแตกตางกันอยางชัดเจนและการทดลองครั้งนี้สงผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร
2. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรแยกรายดานไดแกทักษะการจําแนกประเภททักษะการเปรียบเทียบ
ทักษะการรูคาจํานวน 1
– 10 ทักษะการเพิ่ม – ลดภายในจํานวน 1
– 10
อภิปรายผล
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมและรายดานของเด็กปฐมวัยกอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยปรากฏผลดังนี้
เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมและรายดานทุกดานสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ
.000 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานของการวิจัยครั้งนี้แสดงใหเห็นวารูปแบบการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยสามารถสงเสริมทักษะพื้นฐานทาคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยใหสูงขึ้นไดซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว
ทั้งนี้สามารถอภิปรายผลไดวา
1. เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยมีคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมสูงขึ้นกวากอนการทดลองเนื่องมาจากการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยเปนรูปแบบการสอนที่มีการวางแผนในการจัดการเรียนรูเปนลําดับขั้นตอนที่ชัดเจนใน
ขั้นที่
1 ขั้นเด็กทบทวนความรูและเลือกหัวขอเนื้อหาที่สนใจเด็ก
ขั้นที่
2 ขั้นเด็กคนควาวิจัยหาความรูเด็กไดเดินทางไปศึกษาแหลง เรียนรูที่มีอยูในทองถิ่นมีโอกาสคิดตัดสินใจเลือกแนวทางในการปฏิบัติ
การใหเด็กไดหยิบจับ
ขั้นที่
3 ขั้นการประเมินเด็กและครูรวมกัน ประเมินผลการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยทุกขั้นตอนเปดโอกาสใหเด็กไดใชทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร
2. เมื่อวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงที่แตกตางของคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรกอนและหลังการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยจําแนกรายดาน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น