วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัยเรื่งที่ 3





การศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนระดับปฐมวัย

ที่มีความบกพรองทางการไดยินจากการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหว

ตามแนวคิดของคารลออรฟ


ปริญญานิพนธ

ของ

วรรณรัตน เปยนเปยมสิน


สรุปผลการวิจัย

          1. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความบกพรองทางการไดยิน หลังการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหวตามแนวคิดของคารลออรฟอยูในระดับดี

        2. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนระดับที่มีความบกพรองทางการไดิยนหลังการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหวตามแนวคิดของคารลออรฟสูงขึ้น


อภิปรายผล

          จากการศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความบกพรอง ทางการไดยินหลังการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหวตามแนวคิดของคารลออรฟพบวาอยูใน ระดับดี 5 คนและระดับดีมาก 3 คนซึ่งเทากับและสูงกวาสมมติฐานที่ตั้งไวในขอ 1 อยูในระดับดี และ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถนํามา อภิปรายผลไดดังนี้


           1.  หลังจากที่ไดรับประสบการณทางดนตรีตามแนวคิดของคารลออรฟนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการไดยินมีทักษะพื้นฐานทางคณิศาสตรอยูในระดับดี เมื่อเปรียบเทียบกอนการจัดกิจกรรมทั้งนี้อาจเนื่องจากกิจกรรมดนตรีตามแนวคิดของคารลออรฟเปนกิจกรรมที่จัดขึ้นใหเหมาะสมกับธรรมชาติและการเรียนรูของเด็กดนตรีของออรตั้งอยู่บนพื้นฐานความเขาใจในพัฒนาการของเด็ก เนนกระบวนการที่เด็กไดลงมือปฏิบัตเด็กไดรับความรูสึกของสิ่งที่เขาไดลงมือกระทํา

       ดังที่ไดกลาวไววาดนตรีมีสวนสัมพันธเกี่ยวของกันกับคณิตศาสตรในมุมมองของนักคณิตศาสตร์คิดวาจังหวะมีตัวทําใหเกิดการแบงชวงของเวลาจังหวะเปนสิ่งที่เราสามารถพบเห็นพบเจอในชีวิตประจําวันของเราเมื่อเราสอนดนตรีโดยใชจังหวะนําเด็กจะถูกทําใหเห็นเรื่องความสัมพันธของคณิตศาสตรกับ ดนตรีขณะที่เด็กเขารวมกิจกรรมดนตรี

          2.  หลังจากไดรับประสบการณดนตรีตามแนวคิดของคารลออรฟนักเรียนที่มีความบกพรองทางการได้ยินมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบกับกอนการจัดกิจกรรมแสดงใหเห็นวาการจัดประสบการณดนตรีและการเคลื่อนไหวตามแนวคิดของคารลออรฟสามารถนํามาพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนที่มีความบกพรอง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น