วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัยเรื่องที่ 5


     
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
โดยใชรูปแบบกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู

ปริญญานิพนธ
ของ
คมขวัญ ออนบึงพราว


                        การศึกษาศนคว้าครั้งนี้เปนการศึกษาผลของกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรูที่มีตอ การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย นักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 3  โรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศกรุงเทพมหานครสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตซึ่งจากการศึกษาคนควา  ปรากฏผลดังนี้
                                1.   เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู หลังการทดลองมี
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรแตกตางจากกอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ  .01        สามารถอภิปรายผลไดวาการที่เด็กมีการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสูงขึ้นเนื่องจากไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู โดยใชขั้นตอนการเรียนรูตามรูปแบบ 4 ขั้นตอนที่มีผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรดังนี้ คือ
                              1.1  การกระตุนการเรียนรู หมายถึง สิ่งเรากระตุนการเรียนรูที่สอดคลองกับ
สาระที่ตองการใหนักเรียนอยางใดอยางหนึ่ง จูงใจใหเด็กคิดและติดตามโดยใชคําถามสนทนาการ
อภิปราย การสังเกต หรือการคนหาในการวิจัยนี้ผู้วจัยใชการกระตุนการเรียนรูดวยการใชคําถาม
ของครู กระตุนดวยสื่อของจริง รูปภาพ เกม นิทานหรือสถานการณเพื่อใหนักเรียนไดแสดง
ความคิดเห็นอยางอิสระและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดวยการสนทนา  ซึ่งทําใหเกิดการเรียนรูใน
ลําดับตอไป
                        1.2 กรองสูมโนทัศน เปนขั้นกระตุนใหเด็กสะทอนคิดดวยการโยงขอความรูที่เด็กเคยเรียนมากับสิ่งที่เรียนรูใหม่
                       1.3  การพัฒนาดวยกิจกรรมศิลปะ หมายถึง เปนขั้นของการนําศิลปะมาพัฒนาการเรียนรูใหชัดเจนขึ้น โดยครูมอบหมายใหเด็กถายโยงความรู ความเขาใจหรือสาระที่เรียนรูดวยการทํากิจกรรมศิลปะสรางสรรค ตามรูปแบบศิลปะที่สอดคลองกับจุดประสงคการเรียน เด็กสามารถถายทอดความรูความเขาใจ และความคิดจินตนาการที่ตนเองรูสึกมาเปนงานศิลปะโดยการทํางานศิลปะในรูปแบบศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรูทั้ง3    รูปแบบคือ ศิลปะเปลี่ยนแบบศิลปะบูรณาการและศิลปะคนหา           เพื่อถายโยงความรูทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรในแตละทักษะ
                     1.4   สรุปสาระสําคัญที่เรียนรู เปนขั้นสุดทายของกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู เปนการสรุปความรูอาจใชการถามใหเด็กทบทวนความรูความเขาใจ สาระที่เรียนรูจากงานศิลปะที่ทําโดยเด็กกับครูสรุปสิ่งที่เรียนรูรวมกัน
                  
                    ขั้นตอนทั้ง 4 ดังกลาวขางตนของรูปแบบกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู สามารถพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยไดชัดเจนในทั้ง 4  ขั้นตอน
                  
                           2. การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย  ที่ไดรับการจัดกิจกรรมรูปแบบศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู  เมื่อพิจารณาผลการวิจัย จําแนกเปนรายทักษะพบวาหลังจากจัดกิจกรรมรูปแบบศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรูทั้ง 3   รูปแบบคือ ศิลปะเปลี่ยนแบบศิลปะบูรณาการ และศิลปะคนหา เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวม5ทักษะ คือทักษะการบอกตําแหนงทักษะการจําแนก ทักษะการนับปากเปลา1 – 30  ทักษะ การรูคารูจํานวน และทักษะการเพิ่ม –  ลดภายในจํานวน 1   –   10  สูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01  สามารถอภิปรายผลเปนทักษะไดดังนี้ในการจัดกิจกรรมครูผูสอนตอง กําหนดผลของการเรียนรูที่ชัดเจนซึ่งตรงกับผลการวิจัย ผูวจัยไดกําหนดผลการเรียนรูดวยทักษะ
                    2 .1   ทักษะการบอกตําแหนง เปนหนึ่งในทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสําหรับ
เด็กปฐมวัยที่มีความสามารถในการบอกตําแหนงของสิ่งของที่อยูในตําแหนงตางๆเชนบน ลาง
                2.2  ทักษะการจําแนกคือความสามารถในการสังเกตจําแนกเปรียบเทียบสิ่งตางๆ
วาเหมือนหรือตางกันอยางไรในเรื่องของ ปริมาณ ขนาด รูปราง ีส และรูปทรงเปนทักษะที่ตอง
อาศัยทักษะการสังเกตโดยการใชประสาทสัมผัสทั้งหาของเด็กในการเรียนรู จากสื่อประเภทตางๆ
 2.3  ทักษะการนับปากเปลา คือความสามารถในการนับเลขเรียงลําดับ 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น