วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัยเรื่องที่ 5


     
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
โดยใชรูปแบบกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู

ปริญญานิพนธ
ของ
คมขวัญ ออนบึงพราว


                        การศึกษาศนคว้าครั้งนี้เปนการศึกษาผลของกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรูที่มีตอ การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย นักเรียนชั้นอนุบาลปที่ 3  โรงเรียนสาธิตอนุบาลละอออุทิศกรุงเทพมหานครสังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิตซึ่งจากการศึกษาคนควา  ปรากฏผลดังนี้
                                1.   เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู หลังการทดลองมี
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรแตกตางจากกอนการทดลอง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ  .01        สามารถอภิปรายผลไดวาการที่เด็กมีการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสูงขึ้นเนื่องจากไดรับการจัดกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู โดยใชขั้นตอนการเรียนรูตามรูปแบบ 4 ขั้นตอนที่มีผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรดังนี้ คือ
                              1.1  การกระตุนการเรียนรู หมายถึง สิ่งเรากระตุนการเรียนรูที่สอดคลองกับ
สาระที่ตองการใหนักเรียนอยางใดอยางหนึ่ง จูงใจใหเด็กคิดและติดตามโดยใชคําถามสนทนาการ
อภิปราย การสังเกต หรือการคนหาในการวิจัยนี้ผู้วจัยใชการกระตุนการเรียนรูดวยการใชคําถาม
ของครู กระตุนดวยสื่อของจริง รูปภาพ เกม นิทานหรือสถานการณเพื่อใหนักเรียนไดแสดง
ความคิดเห็นอยางอิสระและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดวยการสนทนา  ซึ่งทําใหเกิดการเรียนรูใน
ลําดับตอไป
                        1.2 กรองสูมโนทัศน เปนขั้นกระตุนใหเด็กสะทอนคิดดวยการโยงขอความรูที่เด็กเคยเรียนมากับสิ่งที่เรียนรูใหม่
                       1.3  การพัฒนาดวยกิจกรรมศิลปะ หมายถึง เปนขั้นของการนําศิลปะมาพัฒนาการเรียนรูใหชัดเจนขึ้น โดยครูมอบหมายใหเด็กถายโยงความรู ความเขาใจหรือสาระที่เรียนรูดวยการทํากิจกรรมศิลปะสรางสรรค ตามรูปแบบศิลปะที่สอดคลองกับจุดประสงคการเรียน เด็กสามารถถายทอดความรูความเขาใจ และความคิดจินตนาการที่ตนเองรูสึกมาเปนงานศิลปะโดยการทํางานศิลปะในรูปแบบศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรูทั้ง3    รูปแบบคือ ศิลปะเปลี่ยนแบบศิลปะบูรณาการและศิลปะคนหา           เพื่อถายโยงความรูทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรในแตละทักษะ
                     1.4   สรุปสาระสําคัญที่เรียนรู เปนขั้นสุดทายของกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู เปนการสรุปความรูอาจใชการถามใหเด็กทบทวนความรูความเขาใจ สาระที่เรียนรูจากงานศิลปะที่ทําโดยเด็กกับครูสรุปสิ่งที่เรียนรูรวมกัน
                  
                    ขั้นตอนทั้ง 4 ดังกลาวขางตนของรูปแบบกิจกรรมศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู สามารถพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยไดชัดเจนในทั้ง 4  ขั้นตอน
                  
                           2. การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย  ที่ไดรับการจัดกิจกรรมรูปแบบศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรู  เมื่อพิจารณาผลการวิจัย จําแนกเปนรายทักษะพบวาหลังจากจัดกิจกรรมรูปแบบศิลปะสรางสรรคเพื่อการเรียนรูทั้ง 3   รูปแบบคือ ศิลปะเปลี่ยนแบบศิลปะบูรณาการ และศิลปะคนหา เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวม5ทักษะ คือทักษะการบอกตําแหนงทักษะการจําแนก ทักษะการนับปากเปลา1 – 30  ทักษะ การรูคารูจํานวน และทักษะการเพิ่ม –  ลดภายในจํานวน 1   –   10  สูงกวากอนการทดลองอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01  สามารถอภิปรายผลเปนทักษะไดดังนี้ในการจัดกิจกรรมครูผูสอนตอง กําหนดผลของการเรียนรูที่ชัดเจนซึ่งตรงกับผลการวิจัย ผูวจัยไดกําหนดผลการเรียนรูดวยทักษะ
                    2 .1   ทักษะการบอกตําแหนง เปนหนึ่งในทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสําหรับ
เด็กปฐมวัยที่มีความสามารถในการบอกตําแหนงของสิ่งของที่อยูในตําแหนงตางๆเชนบน ลาง
                2.2  ทักษะการจําแนกคือความสามารถในการสังเกตจําแนกเปรียบเทียบสิ่งตางๆ
วาเหมือนหรือตางกันอยางไรในเรื่องของ ปริมาณ ขนาด รูปราง ีส และรูปทรงเปนทักษะที่ตอง
อาศัยทักษะการสังเกตโดยการใชประสาทสัมผัสทั้งหาของเด็กในการเรียนรู จากสื่อประเภทตางๆ
 2.3  ทักษะการนับปากเปลา คือความสามารถในการนับเลขเรียงลําดับ 

สรุปงานวิจัยเรื่องที่ 4



ความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย
 ปริญญานิพนธ์
ของ     พิชญา    ดาดําแกว


สรุปผลอภิปรายและขอเสนอแนะ

         จากการวิจัยเรื่องความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย ในจังหวัดทางภาคตะวันออกมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยในดานตางๆดังนี้ ดานความพรอมทางคณิตศาสตร ดานทักษะพื้นฐานทาง คณิตศาสตร ดานการเสริมทักษะคณิตศาสตร และเพื่อเปรียบเทียบความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับ การเรียนคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยจําแนกตามความเกี่ยวของกับเด็กระดับการศึกษาฐานะทาเศรษฐกิจอาชีพของผูปกครองและปจจัยเสริม

ความมุงหมายของการวิจัย
         การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อศึกษาความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียน คณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัยโดยมีจุดมุงหมายเฉพาะของการวิจัยครั้งนี้ประกอบดวย
           1.  เพื่อศึกษาระดับความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตรสําหรับ เด็กปฐมวัย
           2.  เพื่อเปรียบเทียบความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนการสอนคณิตศาสตรสําหรับ เด็กปฐมวัยจําแนกตามปจจัยพื้นฐานทางของครอบครัว
          3. เพื่อศึกษาปจจัยเสริมที่มีอิทธิพลตอความตองการทําใหผูปกครองตองการใหเด็กปฐมวัย เรียนคณิตศาสตร

สรุปผลการวิจัย
         1.  ปจจัยพื้นฐานของผูปกครองผูตอบแบบสอบถามจากการศึกษาปจจัยพื้นฐานของผูตอบแบบสอบถามพบวาผูปกครองสวนใหญเกี่ยวของกับเด็ก
         2. ระดับความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัยพบวา ความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยในภาพรวมและการจําแนกราย ดานผูปกครองมีความตองการอยูในระดับมากทุกดาน
         3. เปรียบเทียบความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรสําหรับเด็กปฐมวัย จําแนกตามปจจัยเสริมที่มีผลตอความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรสําหรับเด็ก

อภิปรายผล
        จากการศึกษาความตองการของผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยของ จังหวัดในภาคตะวันออกผูวิจัยจําแนกการอภิปรายผลออกเปน2 ประเด็นคือ1)ระดับความตองการของ ผูปกครองเกี่ยวกับการเรียนคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยและ
2) เปรียบเทียบความตองการของ  

สรุปงานวิจัยเรื่งที่ 3





การศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนระดับปฐมวัย

ที่มีความบกพรองทางการไดยินจากการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหว

ตามแนวคิดของคารลออรฟ


ปริญญานิพนธ

ของ

วรรณรัตน เปยนเปยมสิน


สรุปผลการวิจัย

          1. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความบกพรองทางการไดยิน หลังการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหวตามแนวคิดของคารลออรฟอยูในระดับดี

        2. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนระดับที่มีความบกพรองทางการไดิยนหลังการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหวตามแนวคิดของคารลออรฟสูงขึ้น


อภิปรายผล

          จากการศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนระดับปฐมวัยที่มีความบกพรอง ทางการไดยินหลังการจัดกิจกรรมดนตรีและการเคลื่อนไหวตามแนวคิดของคารลออรฟพบวาอยูใน ระดับดี 5 คนและระดับดีมาก 3 คนซึ่งเทากับและสูงกวาสมมติฐานที่ตั้งไวในขอ 1 อยูในระดับดี และ ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถนํามา อภิปรายผลไดดังนี้


           1.  หลังจากที่ไดรับประสบการณทางดนตรีตามแนวคิดของคารลออรฟนักเรียนที่มีความ บกพรองทางการไดยินมีทักษะพื้นฐานทางคณิศาสตรอยูในระดับดี เมื่อเปรียบเทียบกอนการจัดกิจกรรมทั้งนี้อาจเนื่องจากกิจกรรมดนตรีตามแนวคิดของคารลออรฟเปนกิจกรรมที่จัดขึ้นใหเหมาะสมกับธรรมชาติและการเรียนรูของเด็กดนตรีของออรตั้งอยู่บนพื้นฐานความเขาใจในพัฒนาการของเด็ก เนนกระบวนการที่เด็กไดลงมือปฏิบัตเด็กไดรับความรูสึกของสิ่งที่เขาไดลงมือกระทํา

       ดังที่ไดกลาวไววาดนตรีมีสวนสัมพันธเกี่ยวของกันกับคณิตศาสตรในมุมมองของนักคณิตศาสตร์คิดวาจังหวะมีตัวทําใหเกิดการแบงชวงของเวลาจังหวะเปนสิ่งที่เราสามารถพบเห็นพบเจอในชีวิตประจําวันของเราเมื่อเราสอนดนตรีโดยใชจังหวะนําเด็กจะถูกทําใหเห็นเรื่องความสัมพันธของคณิตศาสตรกับ ดนตรีขณะที่เด็กเขารวมกิจกรรมดนตรี

          2.  หลังจากไดรับประสบการณดนตรีตามแนวคิดของคารลออรฟนักเรียนที่มีความบกพรองทางการได้ยินมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบกับกอนการจัดกิจกรรมแสดงใหเห็นวาการจัดประสบการณดนตรีและการเคลื่อนไหวตามแนวคิดของคารลออรฟสามารถนํามาพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของนักเรียนที่มีความบกพรอง

สรุปงานวิจัยเรื่องที่ 2


ทักษะพื้นฐานคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่เลนเกมการศึกษาเนนเศษสวนของรูปเรขาคณิต

ปริญญานิพนธ
ของ
         ปณิชา            มโนสิทธยากร
                     ในการวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจัยเชิงทดลองที่มุงศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็ก
ปฐมวัยที่เลนเกมการศึกษาเนนเศษสวนของรูปเรขาคณิตเพื่อการเรียนรู เพื่อเปนแนวทางใหครู และผูเกี่ยวของกับการจัดการศึกษาปฐมวัยไดประโยชน ในการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรใหแกเด็กอยางมีประสิทธิภาพดวยการจัดกิจกรรมที่สอดคลองกับพัฒนาการของเด็กตอไป

ความมุงหมายของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายดังนี้
           1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยกอนและหลังการเลนเกม
การศึกษาที่เนนเศษสวนของรูปเรขาคณิต
           2. เพื่อศึกษาระดับและการเปลี่ยนแปลงทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยกอน
และหลังการเลนเกมการศึกษาที่เนนเศษสวนของรูปเรขาคณิต

สมมติฐานในการวิจัย
          เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดรูปแบบกิจกรรมที่เลนเกมการศึกษาเนนเศษสวนของรูปเรขาคณิต
มีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรสูงกวากอนการทดลอง

ความสําคัญของการวิจัย
          เพื่อศึกษาผลของการสงเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรจากการเลนเกมการศึกษาเนนเศษสวนของรูปเรขาคณิตการเปรียบเทียบการจําแนกการจัดหมวดหมูการเรียงลําดับการบอกตําแหนงการนับเลขของเด็กปฐมวัยซึ่งจะเปนแนวทางในการสงเสริมทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยสําหรับครู ผูปกครองและผูที่เกี่ยวของกับการศึกษา

ขอบเขตการวิจัย
          ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย
              ประชากรที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนเด็กปฐมวัยชาย หญิงที่มีอายุ 5 – 6 ปซึ่งกําลัง
ศึกษาอยูในชั้นอนุบาลปที่  3  ภาคเรียนที่  ปีการศึกษา 2552     ของโรงเรียนจิ้นเตอะเขตสาทร
กรุงเทพมหานครสังกัดสํานักบริหารงานคณะกรรมการสงเสริมการศึกษาเอกชนกลุมงานโรงเรียน
นโยบายพิเศษในความดูแลของสมาคมฮากกาแหงประเทศไทยจํานวน 60 คน


สรุปผลการวิจัย
           1. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรทั้งโดยรวมและรายดานของเด็กปฐมวัยหลังการจัดกิจกรรม
เลนเกมการศึกษาเนนเศษสวนรูปเรขาคณิตสูงกวากอนการจัดกิจกรรมเกมการศึกษาเนนเศษสวนของ
รูปเรขาคณิตอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
           2.  เด็กปฐมวัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรทั้งโดยรวมและรายดานหลังการจัดกิจกรรม
เกมการศึกษาเนนเศษสวนของรูปเรขาคณิตอยูในระดับดี โดยมีการเปลี่ยนแปลงทักษะพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร สูงขึ้นในรายดานคือดานการเรียงลําดับเปนอันดับแรกดานการเปรียบเทียบเปนระดับ
ที่สองดานการจัดหมวดหมูดานการบอกตําแหนงดานการรูคารูจํานวนตามลําดับ






วันศุกร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

สรุปงานวิจัยเรื่องที่ 1



การจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยที่มีผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัย

ปริญญานิพนธ
ของ
ศิรลักษณ วุฒิสรรพ

สรุปผลอภิปรายผลและขอเสนอแนะ
                        การวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยที่มีผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยมีจุดมุงหมายในการวิจัยคือเพื่อศึกษาทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมและรายดานของเด็กปฐมวัยกอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยขอบเขตการวิจัยครั้งนี้ กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้เปนนักเรียนชาย หญิงอายุ5 – 6 ปกําลังศึกษาอยูชั้นอนุบาลป ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 โรงเรียนบานสามแยกสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษากําแพงเพชรเขต 2 จํานวน 15 คนไดมาดวยการคัดเลือกแบบเจาะจงจากหองที่ผู้วิจัยเปนครูประจําชั้นตัวแปรที่ใชในการวิจัยประกอบดวย ตัวแปรจัดกระทําไดแกการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยตัวแปรตามไดแกทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยจําแนกรายดาน 4 ดานคือทักษะการจําแนกประเภททักษะการเปรียบเทียบทักษะการรูคาจํานวน 1 – 10 ทักษะการเพิ่ม ลดภายในจํานวน 1 – 10การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยกึ่งทดลอง (Qusai   Experimental   Design) ซึ่งทําการศึกษากับกลุตัวอยางเปนนักเรียนระดับปฐมวัยโดยสรางความคุนเคยกับเด็กเปนระยะเวลา 1 สัปดาหดําเนินการทดสอบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยกับกลุมตัวอยางกอนการทดลองโดยใชแบบประเมินเชิงปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยมาทดสอบกอนการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยเมื่อสิ้นสุดการทดลองผูิวจัยไดนําแบบประเมินเชิงปฏิบัติทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยมาทดสอบหลังการทดลองและนําขอมูลที่ไดจากการทดสอบมาวิเคราะหดวยวิธีการทางสถิติ

สรุปการศึกษาคนควา
               การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อศึกษาการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยที่มีผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยโดยรวมและรายดานผลการวิจัยพบวา
1. ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมกอนการทดลองมีคาเฉลี่ยเทากับ 17.400 และหลังการทดลองมีคาเฉลี่ยเทากับ 31.533 กอนและหลังการทดลองมีคาเฉลี่ยแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ P<.05 (F=198.116) แสดงวาคาเฉลี่ยทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรกอนและหลังการทดลองแตกตางกันอยางชัดเจนและการทดลองครั้งนี้สงผลตอทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร

2.  ทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรแยกรายดานไดแกทักษะการจําแนกประเภททักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการรูคาจํานวน 1 – 10 ทักษะการเพิ่ม ลดภายในจํานวน 1 – 10


อภิปรายผล
               การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมและรายดานของเด็กปฐมวัยกอนและหลังไดรับการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยปรากฏผลดังนี้ เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยมีทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมและรายดานทุกดานสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .000 ซึ่งสอดคลองกับสมมติฐานของการวิจัยครั้งนี้แสดงใหเห็นวารูปแบบการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยสามารถสงเสริมทักษะพื้นฐานทาคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยใหสูงขึ้นไดซึ่งเปนไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว ทั้งนี้สามารถอภิปรายผลไดวา

1.  เด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยมีคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรโดยรวมสูงขึ้นกวากอนการทดลองเนื่องมาจากการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยเปนรูปแบบการสอนที่มีการวางแผนในการจัดการเรียนรูเปนลําดับขั้นตอนที่ชัดเจนใน
        ขั้นที่ 1 ขั้นเด็กทบทวนความรูและเลือกหัวขอเนื้อหาที่สนใจเด็ก
        ขั้นที่ 2 ขั้นเด็กคนควาวิจัยหาความรูเด็กไดเดินทางไปศึกษาแหลง เรียนรูที่มีอยูในทองถิ่นมีโอกาสคิดตัดสินใจเลือกแนวทางในการปฏิบัติ การใหเด็กไดหยิบจับ
         ขั้นที่ 3 ขั้นการประเมินเด็กและครูรวมกัน ประเมินผลการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยทุกขั้นตอนเปดโอกาสใหเด็กไดใชทักษะพื้นฐานทาง คณิตศาสตร
2.  เมื่อวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงที่แตกตางของคะแนนทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตรกอนและหลังการจัดการเรียนรูแบบเด็กนักวิจัยจําแนกรายดาน
            

วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 16 วันที่ 20/02/2556








วันนี้อาจารย์ให้เพื่อนออกมาสอบสอนต่อ โดยกลุ่มที่สอบสอนวันนี้ มีหน่วย ไข่ กับการทำอาหาร





และกลุ่มที่สอง คือ หน่วยไข่จ๋า มีการยกตัวอย่างคือ นำไข่ของจริงมาประกอบ เช่น ไข่นกกระทา ไข่ไก่ เป็นต้น




และกลุ่มที่สาม ที่สอบสอนในวันนี้ คือ หน่วยน้ำ






หลังจากนั้น อาจารยืพูดเรื่องสอบปลายถาค เราจะสอบนอกตาราง แต่จะใช้วันและเวลาเดียวกับในตาราง ให้มาเจอกันที่ตึกคณะก่อน เรื่องที่จะใช้สอบ ก็จะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ สาระและมาตรฐานคณิตศาสตร์ในหนังสือ


วันเสาร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 15 วันที่ 13/02/2556

อาจารย์ให้สอบสอนต่อ จากสัปดาห์ที่แล้ว
สัปดาห์นี้กลุ่มดิฉัน สอบสอน ในหน่วย สัตว์น่ารัก


อาจารย์เข้ามา ติ และแนะนำการสอน ว่า ครั้งนี้เราขาดอะไรไปบ้าง มีส่วนไหนที่ต้องแก้ไข คือ

                                   - บางหน่วยการเรียนรู้ในหัวข้อ ของเรายังไม่ตรงกัน หน่วยของประเภท มีความสอดคล้องกับ ชนิดและลักษณะ จึงทำให้หน่อย ไม่ค่อยมีความใกล้เคียงกับชื่อหน่วย ต้องไปปรับแก้
                                 - ในเรื่องประโยชน์และโทษ ของสัตว์ บางครั้งก็ไม่ได้เกี่ยวข้องกับสาระหรืมาตรฐานทางคณิตศาสตร์ เราสามารถปรับโดยการใช้นิทานมาแทนในการสอน
                                 - โฟมที่นำมาใช้สอน เราใชไม้ไอติมในการทำสื่อตัวสัตว์ ซึ่งต้องปรับไม้ไอติม ไม่ามารถปักลงบนกระดานโฟมได้ ควรเปลี่ยนเป็นไม้เสียบลูกชิ้น
                                 - การสอนควรเริ่มจากการขยายวงกว้างๆ ในเรื่องป่า แล้วเริ่มแคบลงมาโดยการหยิบยกตัวอย่าง เช่นสัตว์ที่เรานำมา หรือสัตว์ที่เรามี
                                - การจัดระบบความคิดของเด็ก  การบ่งสัตว์ ตามประเภท ชนิด ลักษณะ ตามถินที่อยู่อาศัย





อาจารย์ยกตัวอย่าง รูปแบบการสอนเด็ก

                                

วันพุธที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 14 วันที่ 06/02/2556

อาจารย์ถามถึงเรื่องกิจกรรม ทั้ง 6 กิจกรรม คือ

                                                           - กิจกรรมเสริมประสบการณ์
                                                           - กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
                                                           - กิจกรรมเกมการศึกษา
                                                           - กิจกรรมเสรี
                                                           - กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
                                                           - กิจกรรมกลางแจ้ง


การจัดกิจวัตรประจำวันของเด็ก โดยปกติ จะมี

เข้าแถว
เคลื่อนไหว
ดื่มนม
ศิลปะ
เสริมประสบการณ์
กลางแจ้ง
กินข้าว
นอน
เกมการศึกษา



การทำ การจัดประสบการณ์ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกติ์ใช้กับวิชาอื่น



วันศุกร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 13 วันที่ 30/01/2556

อาจารย์พูดถึงศักยภาพ ว่าปฐมวัย มีศักยภาพที่จะจัดทำอะไรบ้าง ช่วยกันระดมความคิด


                                                                        - บทบาทสมมุติ
- นิทานเวที
                                                                        - นิทรรศการสื่อ
                                                                        - เล่นดนตรี
                                                                        - ร้องเพลง
                                                                        - เล่านิทาน
                                                                        - เล่นเกม
                                                                       - รำ
                                                                       - งานศิลปะ
                                                                       - เต้น
                                                                       



          - การสอนเด็กเราจะใช้การสร้างประสบการณ์ให้เด็ก เมื่อเราสร้างประสบการณ์ให้เด็กแล้ว ตัวของเด็กจะเกิดการเรียนรู้ โดยการให้เด็กได้ลงมือกระทำจริง

         -จำนวนทั้งหมดที่พวกเราได้ช่วยกันระดมความคิด มีทั้งหมด 10 อย่างด้วยกัน การที่เราจะรู้ได้ว่า มีจำนวนทั้งหมดเท่าไหร่นั่น เราต้องอาศัยในเรื่องการนับ ซึ้งการนับ จัดอยู่ใน สาระที่ 1 การนับและการดำเนินการ การนับ สามารถใช้แทนค่าโดยการใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ ซึ่งตัวเลขทางคณิตศาสตร์ เวลาจัดเรียงมักใช้ตัวเลข ฐานสิบ และใช้ตัวเลข ฮินดูอาราบิก ในการแทนค่า




หลังจากนั่น อาจารย์ ช่วยกันคิดว่า ตัวไหนที่ต้องใช้สื่อ หรือตัวไหนที่ไม่ต้องใช้สื่อบ้าง สามารถ แยกได้ดั่งภาพ


อาจารย์ยกตัวอย่าง  ร้องเพลง เต้น นิทาน และถามว่าทำไมจึงเลือก 3 อย่างนี้ เพราะ ทั้ง 3 สิ่งนี้ สามารถนำมากิจกรรม ร่วมกันได้ และจะใช้สื่อ หรือไม่ใช้สื่อก็ได้

อาจารย์ยกตัวอย่างเรื่อง ส้ม กับ กล้วย 


เป็นการเปรียบเทียบเรื่อง ส้ม กับ กล้วย ไปสอดคล้องกับสาระ ในเรื่องอะไรบ้าง
การเปรียบเทียบ การวัด รูปทรง สี ขนาด สาระที่เกี่ยวข้องกับคณิตศาสตร์ ทั้ง 6 สาระ


จากการยกตัวอย่าง เราสามารถจะใช้สาระ คือ

-สาระที่ 3 เรื่องเรขาคณิต ในการบอกรูปทรง ของกล้วยและส้ม ว่ามีรูปทรงเป็นอย่างไร
-สาระที่ 2 เรื่องการวัด การวัดขนาดของความยาวระหว่าง กล้วยกับส้ม
- สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น มาตรฐาน การนำเสนอข้อมูล / การรวบรวมข้อมูล


และเราสามารถ สร้างตารางความสัมพันธ์ ของ สิ่งของของสิ่งนี้ขึ้นมา ใน

-สาระที่ 4 พีชคณิต เข้าใจเรื่องรูปแบบความสัมพันธ์

การสอนควรจะสอดแทรกกับมาตรฐาน ว่าสิ่งที่เราสอนนั่นตรงกับมาตรฐานไหม และตรงกับสาระไหน






วันพุธที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 12 วันที่ 23/01/2556


อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับ เรื่อง หน่วยการเรียนรู้
ในกลุ่มจะต้องแบ่งสอนกันคนละ 1 วัน จากวันจันทร์ - วันศุกร์
การเขียนแผนควรเขียนแผนแบบ วันละ 1 ใบไม่ควรเอาทุกวันมารวมกันในแผ่นเดียว

หน่วยการเรียน ที่กลุ่มของข้าพเจ้าจัดทำขึ้นมาเรื่องสัตว์



แผนการเรียนที่เราต้องเขียนขึ้นมา แบ่งเป็น 5 วัน



ตัวอย่างสื่อที่จะใช้ในการสอน


วันพุธที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 11 วันที่ 16/01/2556



เข้าร่วมกิจกรรมวันครู ของคณะศึกษาศาสตร์ ใต้ตึกคณะศึกษาศาสตร์

เซ็นต์ชื่อเข้าร่วมงาน



ระหว่าง การจัดเตรียมงาน



 ระหว่างรอ พระ




 อาจารย์แจกอาหารว่าง




 ฟังพระเทศน์ พร้อมกับ ให้พรและรดน้ำมนต์ อาจารย์ถวายสังฆทาน




เพื่อนๆ เข้าร่วมงาน

วันพุธที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 10 วันที่ 09/01/2556




อาจารย์พูดเรื่อง กรอบ การยอมรับ การประกันคุณภาพทางคณิตศาสตร์ มาตราฐานการเป็นครู ต้องเป็นที่ยอมรับได้ 50 เปอร์เซ็นต์ คนที่ไม่ได้เรียนครู จะเป็นครูไม่ได้ มหาวิทยาลัยมีการพัฒนาให้เรียนครูได้ ปัจจุบันมีการแข่งขันกันมากขึ้น




สอนเกี่ยวกับศาสตร์ที่นำไปประยุกต์ใช้กับเด็ก
การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์ - มาตรฐานการจัดประสบการณ์ สสวท เป็นผู้จัดประสบการณ์
- ฐานของการจัดประสบการณ์ เอามาจาก อาจารย์เยาวพา และอาจารย์นิตยา
มาตรฐานที่1 ฐานจำนวน เช่น จำนวนนักเรียนที่มาเรียน,จำนวนของอาคารโรงเรียน,เหรียญที่อยู่ในกระเป๋าของเด็กๆมีเท่าไร,บุคคลในบ้านของเด็กๆมีกี่คน เป็นต้น
ฐานตัวเลข เช่น แทนค่าด้วยตัวเลขโดยหยิบตัวเลขมาวางหรือเขียนตัวเลข
มาตรฐานที่2  ฐานการวัดค่า ค่าปริมาตร โดยใช้เครื่องมือในการวัด เช่น ส่วนสูง+น้ำหนัก
มาตรฐานที่3  รูปทรงและเนื้อที่
มาตรฐานที่4  พืชคณิต ความสัมพันธ์-การจับคู่-เป็นมาตรฐานขี้นเริ่มต้น ความสัมพันธ์ที่สูงขึ้นมาอีก คือ ความสัมพันธ์ 2 แกน
มาตรฐานที่5 -
มาตรฐานที่6
ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์



การสอนคณิตศาสตร์เด็ก เราจะใช้การสอนแบบการจัดประสบการณ์ เช่น เราเรียนเรื่อง พาลาโบลา เราก็จะเอาเรื่องนั่น มาจัดประสบการณ์ให้กับเด็ก



 อาจารย์พูดถึง ความหมายคณิตศาสตร์ เรื่องจำนวน ให้เพื่อนๆช่วยกันยกตัวอย่าง เช่น 

  • จำนวนนักเรียน
  • จำนวนอาคารเรียน
  • จำนวนเงิน
  • จำนวนข้าว
  • สมาชิกในบ้าน





 อาจารย์ยกตัวอย่าง ในเรื่องของจำนวน คือ จำนวนสมาชิกในห้อง 




ในเรื่องของการวัด ต้องใช้เครื่องมือในการวัด




หมายเหตุ
อาจารย์สั่งงานให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละไม่เกิน 5 คน สร้าง "หน่วย" เรียกมา 1 หน่วย 1 เรื่อง  แล้ววิเคราะห์เนื้อหาของหน่วยเรื่องนั้นๆ ทำเป็น Mind mapping 

งานที่ได้รับมอบหมาย









วันพุธที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 9 วันที่ 02/01/2556



วันนี้เปิดเรียนวันแรกของปีใหม่ 2556 นักศึกษามาเรียนกันทั้งหมด 7 คน อาจารย์จึงให้ส่งงานที่สั่งให้ไปทำและ ตรวจงาน แนะนำ ข้อผิดพลาด ของงานแต่ละชิ้น ว่าครวทำแบบไหน



อาจารย์ ได้แนะนำเพิ่มเติมในงานที่ได้ทำมา และยกตัวอย่างให้ดู




ผลงานของกลุ่ม ดิฉันที่ได้จัดทำขึ้นมา มีข้อผิดพลาด คือ
1. ไม่ควรใช้เทปกาวหุ้มปก เพราะมันไม่เหมาะ จะทำให้เวลาพับเข้าากัน จะปิดไม่สนิท 
2. รูปภาพที่วาด ควรวางแผนวาดให้รูปอยู่ในหน้าเดียวกัน ไม่ให้ขาดหายไป




ขั้นตอน ในการทำ เกมหมีหรรษา